นโยบายและแผนปฏิบัติการว่าด้วยการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ฉบับสมบูรณ์นี้
ได้กำหนดวิสัยทัศน์การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ คือ “บริการที่สำคัญของประเทศไทยมีความมั่นคง
ปลอดภัยไซเบอร์ เพื่อความยั่งยืนทางเศรษฐกิจและสังคม”
นโยบายและแผนปฏิบัติการเพื่อการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. 2565 – 2570 เป็นแผนแม่บทในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ในสถานการณ์ปกติและในสถานการณ์ที่อาจจะ เกิดหรือเกิดภัยคุกคามทางไซเบอร์ ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายยุทธศาสตร์และแผนระดับชาติ และกรอบนโยบายและแผนแม่บทที่เกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงของสภาความมั่นคงแห่งชาติ
เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์และเป้าหมายการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านการรักษาความมั่นคง ปลอดภัยไซเบอร์ จึงได้กำหนดยุทธศาสตร์การดำเนินงาน 4 ยุทธศาสตร์ ดังนี้
นโยบายและแผนปฏิบัติการเพื่อการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. 2565 – 2570 เป็นแผนแม่บทในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ในสถานการณ์ปกติและในสถานการณ์ที่อาจจะ เกิดหรือเกิดภัยคุกคามทางไซเบอร์ ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายยุทธศาสตร์และแผนระดับชาติ และกรอบนโยบายและแผนแม่บทที่เกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงของสภาความมั่นคงแห่งชาติ
เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์และเป้าหมายการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านการรักษาความมั่นคง ปลอดภัยไซเบอร์ จึงได้กำหนดยุทธศาสตร์การดำเนินงาน 4 ยุทธศาสตร์ ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : สร้างขีดความสามารถในการรักษาความมั่นคงปลอดภัย
ไซเบอร์ของประเทศ (บุคลากร องค์ความรู้ และเทคโนโลยี) (Capacity)
ยุทธศาสตร์ที่ 2 : บูรณาการความร่วมมือเพื่อเตรียมความพร้อมในการรับมือ ทางไซเบอร์และฟื้นคืนสู่สภาพปกติได้ (Partnership)
ยุทธศาสตร์ที่ 2 : บูรณาการความร่วมมือเพื่อเตรียมความพร้อมในการรับมือ ทางไซเบอร์และฟื้นคืนสู่สภาพปกติได้ (Partnership)
ยุทธศาสตร์ที่ 3 : สร้างบริการภาครัฐ และโครงสร้างพื้นฐานสำคัญทางสารสนเทศ
ให้มีความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์และฟื้นคืนสู่สภาพปกติได้ (Resilience)
ยุทธศาสตร์ที่ 4 : สร้างศักยภาพของหน่วยงานระดับชาติให้มีคุณภาพและมาตรฐาน (Standard)
ยุทธศาสตร์ที่ 4 : สร้างศักยภาพของหน่วยงานระดับชาติให้มีคุณภาพและมาตรฐาน (Standard)
ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ